วันพฤหัสบดีที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562

เครื่องจักร NC CNC DNC

เครื่องจักร NC
เครื่องจักรNC ย่อมาจาก Numerical Control หมายถึงการควบคุมการทำงานของเครื่อง NC ด้วยคำสั่งเชิงตัวเลขและตัวอักษรที่ถูกสร้างขึ้นมาในรูปของคำสั่งซึ่งก็คือ โปรแกรม NC. ระบบ NC ซึ่งนำมาใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตของสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ. 1950 ซึ่งส่วนมากจะถูกนำมาใช้ในการควบคุมการทำงานของเครื่องมือกลเป็นส่วนใหญ่.  


    https://www.youtube.com/watch?v=MVYb1u1xbqk                                                                                            

     เครื่องจักร CNC

     CNC เป็นคำย่อมาจากคำว่า Computer Numerical Control หมายถึงการใช้คอมพิวเตอร์มาช่วยควบคุมการทำงานเครื่องจักรกลอัตโนมัติต่างๆ เช่น เครื่องกัด เครื่องกลึง เครื่องเจาะ เครื่องเจียระไน ฯลฯ โดยการสร้างรหัส ตัวเลข สัญลักษณ์ หรือเรียกว่าโปรแกรม NC ขึ้นมาควบคุมการทำงานของเครื่องจักรกล   ซึ่งสามารถทำให้ผลิตชิ้นงานได้รวดเร็วถูกต้อง และเที่ยงตรง 

นับตั้งแต่ปีค.ศ. 1960 เป็นต้นมา เทคโนโลยีทางด้านไมโครโปรเซสเซอร์เข้ามามีบทบาทแทนที่หลอดสุญญากาศ และทรานซิสเตอร์ก็มีการพัฒนาจากเครื่องจักร NC มาเป็นเครื่องจักร CNC (Computer Numerically Controlled) และเครื่องจักร CNC ก็กลายเป็นพระเอกที่โดดเด่นเรื่อยมา เนื่องจากมีหน่วยความจำขนาดใหญ่สามารถบรรจุโปรแกรมการทำงานต่างๆ ได้เป็นจำนวนมาก

https://www.youtube.com/watch?v=tCecP5e4u0g

 เครื่องจักร DNC 
     DNC คืออุปกรณ์ใช้สำหรับเชื่อมต่อกับเครื่องจักรให้สามารถส่งข้อมูล G CODE หรือไฟล์ TEXT เพื่อเข้าเครื่องจักร ซึ่งบางเครื่องอาจจะส่งข้อมูลโดยผ่านระบบ RS232 โดยผ่านโปรแกรม DNC LINK หรือ CIMCO EDITE ซึ่งบางครั้งต้องต่อสายระโยงระยางทำให้ไม่สะดวกกับการทำงานหรืออาจจะก่อให้เกิดสัญญาณรบกวนขณะส่ง ท่านจะหมดปัญหา                                                                                                                                                                                                                                     https://www.youtube.com/watch?v=vntZetpLPMk                                                                     



                                                                             

วันพฤหัสบดีที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562

หุ่นยนต์

หุ่นยนต์ (robot)
หุุ่นยนต์ คือเครื่องยนต์ชนิดหนึ่งที่มีลักษณะโครงสร้างและรูปร่างแตกต่างกันไปตามวัตถุประสงค์ หุ่นยนต์ในแต่ละประเภทจะมีหน้าที่การทำงานในด้านต่าง ๆ ตามการควบคุมโดยตรงของมนุษย์ หรืออาจมีการตั้งค่าให้หุ่นยนต์สามารถตัดสินใจได้เองในระดับใดระดับหนึ่ง การควบคุมระบบต่าง ๆ ในการสั่งงานระหว่างหุ่นยนต์และมนุษย์ สามารถทำได้โดยทางอ้อมและอัตโนมัติ โดยทั่วไปหุ่นยนต์ถูกสร้างขึ้นเพื่อสำหรับงานที่มีความยากลำบากหรืออันตรายเช่น งานสำรวจในพื้นที่บริเวณแคบ งานสำรวจในบริเวณที่เกิดภัยพิบัติ หรืองานสำรวจบนผิวของดวงจันทร์หรือดาวเคราะห์ที่ต่างๆ ปัจจุบันเทคโนโลยีของหุ่นยนต์เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว หุ่นยนต์เริ่มเข้ามามีบทบาทกับชีวิตของมนุษย์ในหลากหลายด้าน เช่น ด้านอุตสาหกรรมการผลิต ด้านการแพทย์ ด้านงานสำรวจทั้งในโลกเราและงานสำรวจในอวกาศ หรือด้านการบันเทิง เช่นหุ่นยนต์ที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อเป็นเครื่องเล่นของมนุษย์ ปัจจุบันนี้ได้มีการพัฒนาให้หุ่นยนต์นั้นมีลักษณะที่คล้ายมนุษย์มากขึ้นเพื่อผลทางจิตวิทยาในการอาศัยอยู่ร่วมกันกับมนุษย์ในชีวิตประจำวัน

ประเภทหุ่นยนต์  2 ประเภทตามลักษณะการใช้งาน 

1.หุ่นยนต์ชนิดที่ติดตั้งอยู่กับที่ (fixed robot) เป็นหุ่นยนต์ที่ไม่สามารถเคลื่อนที่ไปไหนได้ด้วยตัวเอง มีลักษณะเป็นแขนกล สามารถขยับและเคลื่อนไหวได้เฉพาะแต่ละข้อต่อ ภายในตัวเองเท่านั้น มักนำไปใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม เช่นโรงงานประกอบรถยนต์ 

2. หุ่นยนต์ชนิดที่เคลื่อนที่ได้ (mobile robot) หุ่นยนต์ประเภทนี้จะแตกต่างจากหุ่นยนต์ที่ติดตั้งอยู่กับที่ เพราะสามารเคลื่อนที่ไปไหนมาไหนได้ด้วยตัวเอง โดยการใช้ล้อหรือการใช้ขา ซึ่งหุ่นยนต์ประเภทนี้ปัจจุบันยังเป็นงานวิจัยที่ทำการศึกษาอยู่ภายในห้องทดลอง เพื่อพัฒนาออกมาใช้งานในรูปแบบต่าง ๆ เช่นหุ่นยนต์สำรวจดาวอังคาร ขององค์การนาซ่า

 https://www.youtube.com/watch?v=xQL2V2u2JEk  



















เพื่อนในห้อง

สมาชิกในห้อง...


➤ อาจารย์ ธภัทร ชัยชูโชค      อาจารย์ปาล์ม


➤ นายอิทธิกร วิจารณบูรณ์      อาท

➤ นายณัฐรินทร์ ลือวิพันธ์           แทน                                                   

➤ นายนนธวัช อินทรงค์           


➤ นาย วัสพล ศรีวรรณ               ดิว


➤ นาย ปิยะณัฐ ช่วยมั่ง               โดม


➤ นาย ณัฐวัฒน์ หนูประพันธ์       คอม

➤ นาย ธีรภัทร บุญช่วย              ทีน

➤ นางสาวรุสมี  เขร็มกา           มี่

➤ นางสาวสุนิษา ฟองมณี ปาล์ม

➤ นายวรโชติ โภชน์สารี            คิม

➤ นายพลธกร ปานจรูญ             โน


➤ นางสาวสุทธิดา หนูปลอด       หมิว

➤ นางสาวขนิษฐา แดงนำ           นิ้ง

➤ นายอิมรอม เบ็นหมัดหนิ        รอน


➤ นางสาวสุวดี ทองรักษ์          เดียร์


➤ นายอนุชา สุภาพบุรุษ           ก๊อต

➤ นายภูริทัติ ศรีสวัสดิ์             ภู


➤ นางสาวเบญา ทองย้อย      บัว

➤ นางสาว หิรัณยา บุญแก้ว     บีม

➤ นายวีรวัฒน์ เสาวคนธ์        แม็ค

➤ นายศราวุธ บูหมิ                ฟิก

➤ นายพงศ์ศิริ ปิ่นพงค์         เต้ย

➤ นางสาวกนิษฐา หนูนุ่น     ฝน

➤ นายสถาพร ดำคง            หนึ่ง


➤ นายชนัตร  กาญจนะเเก้ว       เต้ย



ประวัติส่วนตัว

ชื่อ นายภควัฒน์ ศรีสุวรรณ
ชื่อเล่น อาร์ม
รหัสนักศึกษา 614703024
โทร 065-0606709







ระบบสายพานลำเลียง

ระบบสายพานลำเลียง Belt Conveyor System เป็นระบบสายพานลำเลียงที่เหมาะสำหรับโรงงานอุตสาหกรรมผลิตชิ้นงาน ทุกชนิด ระบบสายพานลำเลียง  ( Belt C...